TH
คู ่ ม ื อ การใช้ ง านนี ้ อธิ บ ายให้ ท ราบถึ ง วิ ธ ี ก ารใช้ ง านอุ ป กรณ์ ข องคุ ณ อย่ า งถู ก ต้ อ ง เฉพาะ
ข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค และการใช้ ง านบางอย่ า งเท่ า นั ้ น ที ่ ไ ด้ อ ธิ บ ายไว้
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ นได้ บ อกให้ ค ุ ณ ทราบถึ ง อั น ตรายบางส่ ว นที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น จากการใช้
งานของอุ ป กรณ์ แต่ ไ ม่ อ าจอธิ บ ายได้ ท ั ้ ง หมด ตรวจเช็ ค ที ่ Petzl.com เพื ่ อ หาข้ อ มู ล เพิ ่ ม
เติ ม ล่ า สุ ด
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของคุ ณ ในการระมั ด ระวั ง ต่ อ คำ า เตื อ นและการใช้ อ ุ ป กรณ์ อ ย่ า ง
ถู ก ต้ อ ง ข้ อ ผิ ด พลาดในการใช้ อ ุ ป กรณ์ จ ะทำ า ให้ เ กิ ด อั น ตราย ติ ด ต่ อ Petzl หรื อ ตั ว แทน
จำ า หน่ า ยถ้ า มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ นี ้
1. ส่ ว นที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
7 ซม. (0.23 ft) สายเชื ่ อ มต่ อ สำ า หรั บ ระบบป้ อ งกั น เครื ่ อ งมื อ ตกหล่ น รั บ น้ ำ า หนั ก ได้ ถ ึ ง
2.3 กก. (5 lb)
คำ า เตื อ น: อุ ป กรณ์ น ี ้ ไ ม่ ใ ช่ อ ุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ภั ย ส่ ว นบุ ค คล (ห้ า มนำ า ไปใช้ เ พื ่ อ ป้ อ งกั น การ
ตก, คงตำ า แหน่ ง การทำ า งาน...)
อุ ป กรณ์ น ี ้ ส ามารถหยุ ด การตกของเครื ่ อ งมื อ โดยไม่ ไ ด้ ต ั ้ ง ใจ แต่ ห ้ า มนำ า ไปใช้ เ พื ่ อ แขวน
เครื ่ อ งมื อ
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งไม่ ใ ช้ ร ั บ น้ ำ า หนั ก เกิ น กว่ า ที ่ ร ะบุ ไ ว้ ห รื อ ไม่ น ำ า ไปใช้ ใ นวั ต ถุ ป ระสงค์
อย่ า งอื ่ น นอกเหนื อ จากที ่ ไ ด้ ถ ู ก ออกแบบมา
ความรั บ ผิ ด ชอบ
คำ า เตื อ น
กิ จ กรรมที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ เป็ น สิ ่ ง ที ่ เ ป็ น อั น ตราย
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ง านต่ อ การกระทำ า การตั ด สิ น ใจและความ
ปลอดภั ย ของตั ว คุ ณ เอง
ก่ อ นการใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ จะต้ อ ง:
- อ่ า นและทำ า ความเข้ า ใจรายละเอี ย ดในคู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
- ทำ า การฝึ ก ฝนโดยเฉพาะเพื ่ อ การใช้ ง านที ่ ถ ู ก ต้ อ ง
- ทำ า ความคุ ้ น เคยกั บ ความสามารถและข้ อ จำ า กั ด ในการใช้ ง านของมั น
- เข้ า ใจและยอมรั บ ความเสี ่ ย งที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
การขาดความระมั ด ระวั ง และละเลยต่ อ ข้ อ มู ล นี ้ อาจมี ผ ลให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ
สาหั ส หรื อ อาจถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งถู ก ใช้ ง านโดยผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามเชี ่ ย วชาญและมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบหรื อ ใช้ ใ น
สถานที ่ ท ี ่ อ ยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบโดยตรงหรื อ ควบคุ ม ได้ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ง านต่ อ วิ ธ ี ก ารใช้ การตั ด สิ น ใจความปลอดภั ย และ
ยอมรั บ ในผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากวิ ธ ี ก ารนั ้ น ไม่ ค วรใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ้ า คุ ณ ไม่ ส ามารถ หรื อ ไม่
อยู ่ ใ นสภาวะที ่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ความเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ
การใช้ ง าน
2. ชื ่ อ ของส่ ว นประกอบ
(1) เทปกาว, (2) พื ้ น ที ่ ต ิ ด ยึ ด เครื ่ อ งมื อ , (3) รู ส ำ า หรั บ คล้ อ งเกี ่ ย ว, (4) ตั ว หยุ ด
วั ส ดุ ป ระกอบหลั ก โพลี เ อสเตอร์
3. การตรวจสอบ จุ ด ที ่ ต ้ อ งตรวจสอบ
ความปลอดภั ย ของคุ ณ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ความสมบู ร ณ์ ข องอุ ป กรณ์ ข องคุ ณ
Petzl แนะนำ า ให้ ม ี ก ารตรวจเช็ ค โดยละเอี ย ดโดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญอย่ า งน้ อ ยทุ ก ๆ 12 เดื อ น
คำ า เตื อ น: การใช้ ง านหนั ก อาจเป็ น สาเหตุ ท ี ่ ท ำ า ให้ ค ุ ณ ต้ อ งทำ า การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ์ ด ้ ว ย
ความถี ่ ม ากขึ ้ น ทำ า ตามขั ้ น ตอนที ่ แ สดงไว้ ด ้ า นล่ า ง
ก่ อ นการใช้ ง านแต่ ล ะครั ้ ง
ตรวจดู ส ภาพของสายรั ด และฝี เ ย็ บ เพื ่ อ ความปลอดภั ย และเช่ น เดี ย วกั น กั บ สภาพของ
เทปกาว ตรวจดู ร ่ อ งรอยตั ด ขาด, ชำ า รุ ด และการเสี ย หายจากการใช้ ง าน, จากความร้ อ น,
สั ม ผั ส กั บ สารเคมี , จากการถู ก เผาโดย UV...
ตรวจดู ร ่ อ งรอยตั ด ขาดหรื อ รอยลุ ่ ย ของด้ า ย และตรวจหาจุ ด ที ่ เ ทปกาวหลุ ด ลอก
ระหว่ า งการใช้ ง าน
เป็ น เรื ่ อ งสำ า คั ญ อย่ า งยิ ่ ง ที ่ ต ้ อ งตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ เ ป็ น ประจำ า และการต่ อ
เชื ่ อ มอุ ป กรณ์ เ ข้ า กั บ อุ ป กรณ์ ต ั ว อื ่ น ในระบบ แน่ ใ จว่ า ทุ ก ชิ ้ น ส่ ว นของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ ใ น
ตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งกั บ ชิ ้ น ส่ ว นอื ่ น
4. ความเข้ า กั น ได้
ตรวจเช็ ค ว่ า อุ ป กรณ์ น ี ้ สามารถใช้ ง านเข้ า กั น ได้ ด ี ก ั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ในระบบที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
(เข้ า กั น ได้ ด ี = ใช้ ง านด้ ว ยกั น ได้ โ ดยไม่ ต ิ ด ขั ด )
อุ ป กรณ์ ท ี ่ น ำ า มาใช้ ง านร่ ว มกั บ TOOLINK S ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำ า หนดมาตรฐานที ่
ใช้ บ ั ง คั บ ในแต่ ล ะประเทศ (เช่ น มาตรฐาน ANSI 121-2018 สำ า หรั บ อุ ป กรณ์ ผ ู ก ล่ า มเพื ่ อ
ป้ อ งกั น เครื ่ อ งมื อ ตกหล่ น )
สามารถใช้ ไ ด้ ก ั บ เครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี ค ุ ณ ลั ก ษณะสองประการนี ้ เ ท่ า นั ้ น :
- เครื ่ อ งมื อ รู ป ทรงเรขาคณิ ต ที ่ เ อื ้ อ ให้ พ ื ้ น ผิ ว ทั ้ ง หมดสามารถยึ ด กั บ สายเชื ่ อ มต่ อ บนเครื ่ อ ง
มื อ เพื ่ อ ที ่ จ ะยึ ด ติ ด ไว้ และให้ เ ทปกาวกดน้ ำ า หนั ก บนสายเชื ่ อ มต่ อ ในระหว่ า งที ่ ต ิ ด ตั ้ ง ได้
ระวั ง พื ้ น ผิ ว ที ่ ม ี ร ู ป ทรงโค้ ง มนหรื อ ลาดเอี ย ง (เช่ น H-shaped cross-section)
- เครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี ร ู ป ทรงเรขาคณิ ต ที ่ ไ ม่ ท ำ า ให้ เ ครื ่ อ งมื อ หลุ ด ออกในกรณี ท ี ่ ม ี ค วามลื ่ น
คำ า เตื อ น: ใช้ ส ายเชื ่ อ มต่ อ ร่ ว มกั บ เทปกาวที ่ ใ ช้ ส ำ า หรั บ TOOLINK S เท่ ่ า นั ้ น (รหั ส อ้ า งอิ ง
3M: 1500174)
5. ส่ ว นประกอบของระบบป้ อ งกั น เครื ่ อ งมื อ ตกหล่ น
ระบบดั ง กล่ า วจะต้ อ งติ ด ยึ ด อยู ่ ก ั บ สายรั ด นิ ร ภั ย หรื อ จุ ด ผู ก ยึ ด (คำ า เตื อ น: ห้ า มติ ด ยึ ด
โดยตรงกั บ ตั ว คุ ณ )
คำ า เตื อ น: ความแข็ ง แรงของระบบอาจเหลื อ ศู น ย์ ห ากติ ด ตั ้ ง ไม่ ด ี และ/หรื อ ติ ด ตั ้ ง บน
จุ ด ผู ก ยึ ด ที ่ ไ ม่ ด ี
TECHNICAL NOTICE TOOLINK S et TOOLTAPE
ความยาวสู ง สุ ด ของระบบป้ อ งกั น เครื ่ อ งมื อ ตกหล่ น :
ตรวจสอบว่ า ความยาวทั ้ ง หมดของระบบ (สายล่ า มเครื ่ อ งมื อ , สายเชื ่ อ มต่ อ และ ตั ว
เชื ่ อ มต่ อ ส่ ว นปลาย) ยาวไม่ เ กิ น 120 ซม. (4ft)
6. การติ ด ตั ้ ง สายเชื ่ อ มต่ อ บนเครื ่ อ งมื อ
- ต้ อ งแน่ ใ จว่ า เครื ่ อ งมื อ ได้ ถ ู ก ทำ า ความสะอาดแล้ ว (ปราศจากคราบมั น , เศษผง...)
คำ า เตื อ น: ห้ า มนำ า ไปใช้ ก ั บ อุ ป กรณ์ ท ี ่ ม ี ค วามคมหรื อ มี พ ื ้ น ผิ ว หยาบ ต้ อ งแน่ ใ จว่ า ห่ ว ง
คล้ อ งเกี ่ ย วของเครื ่ อ งมื อ มี ค วามแข็ ง แรงเพี ย งพอที ่ จ ะรั บ แรงตกของเครื ่ อ งมื อ ของคุ ณ
- จั ด ตำ า แหน่ ง สายเชื ่ อ มต่ อ ให้ ร ู ค ล้ อ งเกี ่ ย วนั ้ น อยู ่ ต รงข้ า มกั บ จุ ด ศู น ย์ ถ ่ ว งกึ ่ ง กลางของ
เครื ่ อ งมื อ
- พั น เทปกาวรอบสายเชื ่ อ มต่ อ และเครื ่ อ งมื อ โดยรั ด เข้ า ด้ ว ยกั น ให้ แ น่ น หนา (เทปกาว
ควรยื ด ออกเป็ น สองเท่ า ของความยาวปกติ ) เทปกาวต้ อ งไม่ ป ิ ด ทั บ ตั ว หยุ ด ดู ค ู ่ ม ื อ ของ
3M สำ า หรั บ ข้ อ มู ล เฉพาะของตั ว เทปกาว
- ทำ า การทดสอบเพื ่ อ ตรวจเช็ ด ว่ า สายเชื ่ อ มต่ อ ได้ ย ึ ด ติ ด กั บ เครื ่ อ งมื อ อย่ า งเหมาะสม สาย
เชื ่ อ มต่ อ ต้ อ งถู ก พั น รั ด อย่ า งแน่ น หนาบนเครื ่ อ งมื อ โดยปราศจากจุ ด หลวมหรื อ จุ ด ที ่ อ าจ
เกิ ด การลื ่ น ไหลได้
7. ข้ อ ควรระวั ง การใช้ ง าน
- ตรวจเช็ ค ระยะห่ า งที ่ เ หมาะสมด้ า นใต้ ข องผู ้ ใ ช้ ง านและด้ า นข้ า ง เพื ่ อ ป้ อ งกั น การ
กระแทกพื ้ น ล่ า งหรื อ สิ ่ ง กี ด ขวางหรื อ บุ ค คลอื ่ น ในกรณี ท ี ่ เ ครื ่ อ งมื อ ตกหล่ น ความสู ง
ที ่ น ้ อ ยที ่ ส ุ ด ของจุ ด ผู ก ยึ ด = ความยาวที ่ ม ากที ่ ส ุ ด ของระบบป้ อ งกั น เครื ่ อ งมื อ ตกหล่ น :
120 ซม., 4ft + ความยาวของเครื ่ อ งมื อ + ระยะเพื ่ อ ความปลอดภั ย : 50 ซม., 1.6ft
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที ่ ใ ช้ เ ชื ่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ น ี ้ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต าม
อย่ า งเคร่ ง ครั ด
- การใช้ ง านที ่ ผ ิ ด วิ ธ ี ใ ดใดของอุ ป กรณ์ อ าจทำ า ให้ เ ป็ น อั น ตราย: การทำ า งานที ่ ส ู ง ด้ ว ย
เครื ่ อ งมื อ ที ่ ไ ม่ ไ ด้ ถ ู ก ผู ก ล่ า มอาจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ่ ย งต่ อ บุ ค คลหรื อ สิ ่ ง ของที ่ อ ยู ่ ด ้ า นล่ า ง
- ตรวจเช็ ค ว่ า อุ ป กรณ์ ไ ม่ ไ ด้ ข ั ด ขวางการทำ า งานที ่ เ หมาะสมของเครื ่ อ งมื อ ที ่ ต ิ ด ยึ ด ไว้
- ตรวจเช็ ค ว่ า อุ ป กรณ์ ไ ม่ ไ ด้ ก ี ด ขวางไม่ ใ ห้ ผ ู ้ ใ ช้ ง านเคลื ่ อ นที ่ ไ ด้ อ ย่ า งปลอดภั ย ในการ
ทำ า งาน
- ห้ า มใช้ อ ุ ป กรณ์ ใ กล้ ก ั บ เครื ่ อ งจั ก รที ่ เ คลื ่ อ นที ่
- ต้ อ งแน่ ใ จว่ า อุ ป กรณ์ ไ ม่ ถ ู ก เสี ย ดสี ก ั บ วั ต ถุ เ นื ้ อ หยาบหรื อ ของมี ค ม
- เทปกาวนี ้ ส ำ า หรั บ การใช้ ง านเพี ย งครั ้ ง เดี ย วเท่ า นั ้ น ห้ า มนำ า มาใช้ ซ ้ ำ า หากมี ก ารติ ด ยึ ด แล้ ว
8. ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม
ควรยกเลิ ก การใช้ อ ุ ป กรณ์ เ มื ่ อ ไร:
ข้ อ ควรระวั ง : ในกิ จ กรรมที ่ ใ ช้ ง านเฉพาะเจาะจงเป็ น พิ เ ศษอาจทำ า ให้ อ ุ ป กรณ์ ต ้ อ งถู ก เลิ ก
ใช้ แ ม้ ห ลั ง จากการใช้ ง านเพี ย งครั ้ ง เดี ย วทั ้ ง นี ้ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ชนิ ด ของการใช้ ง านและความ
รุ น แรงของสภาพแวดล้ อ มของการใช้ (สภาพที ่ แ ข็ ง หยาบ, สถานที ่ ใ กล้ ท ะเล, ขอบมุ ม ที ่
แหลมคม, สภาพอากาศที ่ ร ุ น แรง, สารเคมี . ..)
อุ ป กรณ์ จ ะต้ อ งเลิ ก ใช้ เมื ่ อ :
- มี อ ายุ เ กิ น กว่ า 10 ปี สำ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก หรื อ สิ ่ ง ทอ
- ความเหนี ย วของกาวมี อ ายุ ม ากกว่ า 3 ปี
- ได้ เ คยมี ก ารตกกระชากอย่ า งรุ น แรง หรื อ เกิ น ขี ด จำ า กั ด
- เมื ่ อ ไม่ ผ ่ า นการตรวจเช็ ค สภาพ เมื ่ อ มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ แ น่ ใ จ
- เมื ่ อ ไม่ ท ราบถึ ง ประวั ต ิ ก ารใช้ ง านมาก่ อ น
- เมื ่ อ ตกรุ ่ น ล้ า สมั ย จากการเปลี ่ ย นกฏเกณฑ์ ม าตรฐานเทคนิ ค หรื อ ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้
กั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น
ทำ า ลายอุ ป กรณ์ เ พื ่ อ ป้ อ งกั น การนำ า กลั บ มาใช้ อ ี ก
สั ญ ลั ก ษณ์ :
A. อายุ ก ารใช้ ง าน 10 ปี - B. เครื ่ อ งหมาย - C. สภาพภู ม ิ อ ากาศ ที ่ ส ามารถใช้ ง านได้
- D. ข้ อ ควรระวั ง การใช้ ง าน - E. การทำ า ความสะอาด/ฆ่ า เชื ้ อ โรค - F. ทำ า ให้ แ ห้ ง - G.
การเก็ บ รั ก ษา/การขนส่ ง - H. การดั ด แปลงเพิ ่ ม เติ ม /การซ่ อ มแซม (ไม่ อ นุ ญ าตให้ ท ำ า
ภายนอกโรงงานของ Petzl ยกเว้ น ส่ ว นที ่ ส ามารถใช้ ท ดแทนได้ ) - I. คำ า ถาม/ติ ด ต่ อ
อุ ป กรณ์ ม ี ก ารรั บ ประกั น เป็ น เวลา 3 ปี
เกี ่ ย วกั บ วั ต ถุ ด ิ บ หรื อ ความบกพร่ อ งจากการผลิ ต ข้ อ ยกเว้ น จากการรั บ ประกั น : การ
ชำ า รุ ด บกพร่ อ งจากการใช้ ง านตามปกติ ปฏิ ก ิ ร ิ ย าจากสารเคมี การแก้ ไ ขดั ด แปลง การ
เก็ บ รั ก ษาไม่ ถ ู ก วิ ธ ี ขาดการดู แ ล การนำ า ไปใช้ ง านที ่ น อกเหนื อ จากที ่ อ ุ ป กรณ์ ไ ด้ ถ ู ก
ออกแบบไว้
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ น
1. สถานการณ์ เ สี ่ ย งที ่ อ าจจะเกิ ด อั น ตรายบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ เสี ย ชี ว ิ ต 2. แสดงให้
เห็ น ถึ ง ความเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด อุ บ ั ต ิ เ หตุ หรื อ การบาดเจ็ บ 3. ข้ อ มู ล สำ า คั ญ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ
ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ ง าน หรื อ คุ ณ สมบั ต ิ ข องอุ ป กรณ์ 4. ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้ ข อง
อุ ป กรณ์
เครื ่ อ งหมายและข้ อ มู ล
a. วั น ที ่ ผ ลิ ต - b. ปี ท ี ่ ผ ลิ ต - c. เดื อ นผลิ ต - d. วั น ผลิ ต - e. มาตรฐาน - f. อ่ า นคู ่ ม ื อ การ
ใช้ โ ดยละเอี ย ด - g. ข้ อ มู ล ระบุ ร ุ ่ น - h. ความยาวที ่ ม ากที ่ ส ุ ด - i. การรั บ น้ ำ า หนั ก ที ่ ม าก
ที ่ ส ุ ด - j. ห้ า มใช้ เ ป็ น เชื อ กสั ้ น สำ า หรั บ ป้ อ งกั น การตก หรื อ เชื อ กสั ้ น สำ า หรั บ คงตำ า แหน่ ง
การทำ า งาน
S0013600B (220622)
12